Thai PBS Podcast
Advance Search
ผลการค้นหา 23 รายการ
เรียงจาก

32
1
24 เม.ย. 67

ปัจจุบันสิ่งที่น่าตกใจจากการบริโภครสเค็มมากเกินไปของคนไทย คือ จากการสำรวจและเก็บสถิติทางการแพทย์พบว่า โรคต่าง ๆ ที่เกิดจาการกินเค็ม เช่น โรคความดันโลหิตสูง พบในคนที่มีอายุน้อยลง โดยเฉพาะกลุ่มวัยรุ่นที่กินเค็มสะสมมาตั้งแต่ตอนเด็ก ๆ และยังพบอีกว่า สาเหตุหนึ่งที่ทำให้เด็กติดเค็ม เกิดจากพ่อแม่ เพราะพ่อแม่มักเอารสชาติอร่อยของตัวเองเป็นที่ตั้งนั่นก็คือ เค็ม ไปใส่ในอาหารเด็ก ซึ่งมักมาจากผลิตภัณฑ์แปรรูปความเค็ม เช่น ซุปก้อน หรือผงชูรส

จะทำอย่างไรให้ร่างกายสามารถปรับตัวเองไม่ให้กินเค็มจนส่งผลเสียต่อร่างกาย และมีคำแนะนำเกี่ยวกับอาหารสำหรับเด็กอย่างไรให้หลีกเลี่ยงจากความเค็มมากที่สุด รายการ โรงหมอ เล่าให้ฟังค่ะ

50
1
11 มี.ค. 67

คนที่มีรูปร่าง ผอมแต่มีพุง (Skinny fat หรือ Normal Weight Obesity) จะมีน้ำหนักตัวและค่าดัชนีมวลกาย (บีเอ็มไอ: BMI) อยู่ในเกณฑ์ปกติมาตรฐาน แต่กลับพบค่าของไขมันที่อยู่บริเวณหน้าท้องสูง มีมวลกล้ามเนื้อน้อยหรือแทบไม่เห็นมัดกล้ามเนื้อ เมื่อมองจากภายนอกจะมีรูปร่างผอมเพรียวบางสมส่วน แต่พุงกลับป่องยื่นออกมาไม่เรียบแบน โดยหากนำสายวัดมาวัดรอบเอว ผู้หญิงต้องไม่เกิน 80 เซนติเมตร หรือ 32 นิ้ว ส่วนผู้ชายต้องไม่เกิน 90 เซนติเมตร หรือ 36 นิ้ว ที่สำคัญรูปร่างแบบนี้ไม่ถึอว่าเป็นโรค แต่ก็เป็นหนึ่งในความเสี่ยงทำให้เกิดโรคอื่น ๆ ตามมา มีปัจจัยอะไรบ้างที่ทำให้มีพุงยื่นนคนรูปร่างผอม ค่าหรือดัชนีต่าง ๆ ทั้งผู้ชายและผู้หญิงควรอยู่ในระดับที่เท่าไหร่ ทำอย่างไรไม่ให้มีพุง รายการ โรงหมอ เล่าให้ฟังค่ะ

33
1
08 มี.ค. 67

สำหรับคนที่มีรูปร่างอวบอ้วน สิ่งที่มักเกิดขึ้นภายในใจนั่นคือ ความไม่มั่นใจ ซึ่งส่งผลกระทบต่อการใช้ชีวิต การพบปะสังสรรค์ หรือการสร้างความสัมพันธ์กับผู้คนภายนอก จึงมักมีปัญหาในเรื่องความรัก ความสัมพันธ์ หรือแม้แต่เรื่องบนเตียง

โดยทั่วไปแล้ว คนอ้วนมักมีบุคลิกที่น่ารัก อบอุ่น น่ากอด เป็นหมอนข้าง พุงนุ่ม ๆ หนุนหัวได้ มักเป็นคนอารมณ์ดี แต่กลับมีความประหม่าในเรื่องรูปร่างของตัวเอง แม้มีความกลัวเหล่านี้อยู่ในใจ แต่ทำอย่างไรให้มีความมั่นใจในความสัมพันธ์มากขึ้น รวมถึงเรื่องบนเตียง ท่าไหนเหมาะเติมไฟให้ความรักของคนรูปร่างอวบอ้วนมากที่สุด รายการโรงหมอ เล่าให้ฟังค่ะ

24
1
11 ก.ย. 66

ความเครียดอาจทำให้บางคนไม่อยากกินอะไร แต่บางคนยิ่งเครียดกลับยิ่งกิน กินจน Over eating คือ หิวเก่ง กินเก่ง ซึ่งสัมพันธ์กับฮอร์โมน 3 ชนิดที่ทำให้เกิดความเครียดกับการกิน นั่นคือ 1. ฮอร์โมนคอร์ติซอล (Cortisol) ฮอร์โมนชนิดนี้ทำให้ร่างกายอยากกินอาหารเพิ่มขึ้น ทำให้เกิดการเพิ่มปริมาณของไขมันในช่องท้อง เป็นที่มาของความอ้วน 2. ฮอร์โมนเกรลิน (Ghrelin) เป็นฮอร์โมนที่ทำให้รู้สึกหิว 3. ฮอร์โมนเซโรโทนิน (Serotonin) เป็นฮอร์โมนแห่งความสุข คนที่ขาดฮอร์โมนชนิดจะทำให้เกิดความเครียดได้ง่ายและนอนไม่หลับ ฮอร์โมนทั้ง 3 ชนิดนี้เกี่ยวพันกับความเครียดอย่างไร เครียดแล้วทำไมต้องกิน เครียดแล้วกินส่งผลเสียอะไรกับร่างกายบ้าง ผู้เชี่ยวชาญด้านโภชนาการ เล่าให้ฟังในรายการ โรงหมอ ค่ะ

49
1
31 ก.ค. 66

พุง เกิดจากภาวะที่มีไขมันสะสมในช่องท้องที่มีปริมาณมากเกินไป บางคนแม้น้ำหนักจะอยู่ในเกณฑ์ปกติหรือมีรูปร่างสูง ก็ไม่ได้หมายความว่าจะไม่มีพุง ซึ่งพุงของแต่ละคนมีลักษณะรูปร่างแตกต่างกัน ขึ้นอยู่กับสาเหตุหรือปัจจัยอะไรที่ทำให้เกิด แต่แน่นอนว่า พุงแต่ละชนิด สามารถบอกได้ว่าอนาคตหากไม่ลดมีโอกาสเกิดโรคอะไรได้บ้าง รายการ โรงหมอ มีลักษณะของพุงแต่ละชนิดมาเล่าให้ฟังทั้งสาเหตุที่ทำให้เกิด โรคที่อาจเป็น และวิธีการลดหรือป้องกัน มาเล่าให้ฟังค่ะ

50
1
26 ก.ค. 66

รู้หรือไม่ว่าคนไทยบริโภคน้ำตาลที่ถูกแปรรูปไปเป็นผลิตภัณฑ์หรือเครื่อดื่มเฉลี่ย 25 ช้อนชาต่อวัน ในขณะที่กรมอนามัยแนะนำให้บริโภคไม่เกิน 6 ช้อนชาต่อวัน นั่นหมายความว่าตอนนี้คนไทยบริโภคเกินไปถึง 4 เท่า ซึ่งส่งผลเสียต่อสุขภาพตั้งแต่หัวจรดปลายเท้า รวมทั้งยังเสี่ยงต่อการเป็นโรคในกลุ่มโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง หรือ NCDs ซึ่งเป็นโรคที่สร้างด้วยตัวของคุณเอง เช่น โรคหัวใจและหลอดเลือด, โรคความดันโลหิตสูง, โรคไขมันในเลือดสูง, โรคอ้วนลงพุง, โรคเบาหวาน หรือโรคมะเร็งหลากหลายชนิด ผลกระทบทางร่างกายตั้งแต่หัวจรดปลายเท้าจากการกินหวานเกิดอะไรขึ้นบ้าง และหากต้องการลดความหวานให้กับร่างกายทำได้ด้วยวิธีใดบ้าง ผู้เชี่ยวชาญด้านโภชนาการเล่าให้ฟังในรายการ โรงหมอ ค่ะ

34
1
02 มิ.ย. 66

ปัจจุบันความอ้วนไม่ใช่เรื่องที่ดีสำหรับร่างกายเลย (ไม่ว่าวัยไหนก็ตาม) หากมีการวัดค่าดัชนีมวลกาย หรือ บีเอ็มไอ (Body Mass Index : BMI) สูงเกินกว่าดัชนี 25 ขึ้นไป ถือว่าเป็นโรคอ้วน ซึ่งอยู่ในภาวะเสี่ยงต่อการเกิดโรคเบาหวาน, โรคความดันโลหิตสูง, โรคไขมันพอกตับ, โรคหยุดหายใจขณะนอนหลับ รวมถึงเพิ่มโอกาสเสี่ยงเป็นมะเร็ง เช่น มะเร็งเต้านม และมะเร็งลำไส้ใหญ่

สำหรับใครที่คำนวนดัชนีมวลกายออกมาแล้วได้ดัชนี 30 ขึ้นไป นี่คือกลุ่มเสี่ยงและอันตรายที่สุดเพราะอยู่ในขั้นของ โรคอ้วนอันตราย หรือ โรคอ้วนทุพพลภาพ (Robotic-assisted bariatric surgery) ซึ่งมีผลต่อคุณภาพชีวิตอย่างมาก เสี่ยงเป็นโรคต่าง ๆ มากกว่าคนปกติ ที่สำคัญอายุสั้นกว่าคนปกติ หากคิดง่าย ๆ ส่วนมากแล้วคนที่มีน้ำหนักมากกว่า 100 กิโลกรัมขึ้นไป มักเป็นโรคนี้ ปัจจัยที่ทำให้เกิดโรคที่ควบคุมได้และไม่ได้มีอะไรบ้าง อาการแบบไหนต้องพิจารณาผ่าตัดกระเพาะอาหาร รายการ โรงหมอ เล่าให้ฟังค่ะ

45
1
12 เม.ย. 66

จริง ๆ แล้วร่างกายของเราขาดไขมันไม่ได้ ซึ่งไขมันก็เป็นหนึ่งในสารอาหารจำเป็น แต่สารอาหารชนิดนี้หากบริโภคแต่พอดีก็จะมีประโยชน์ แต่หากบริโภคไม่เลือกหรือมากเกินไปก็จะส่งผลร้ายต่อร่างกายได้ ส่วนใหญ่เราจะรู้จักกันใน 2 ชื่อคือ ไขมันดี (HDL) และ ไขมันเลว (LDL)

ไขมันดี (High density lipoprotein (HDL)) ทำหน้าที่ลำเลียงคอลเลสเตอรอลและกรดไขมันไปที่ตับเพื่อทำลาย แล้วขับออกมาทางน้ำดี ช่วยป้องกันไม่ให้ไขมันเลวไปสะสมในหลอดเลือดแดง ส่วน ไขมันเลว (Low density lipoprotein (LDL)) เป็นตัวที่นำคอลเลสเตอรอลไปให้ร่างกายได้ใช้ แต่หากบริโภคมากเกินไปจะไปสะสมที่ผนังหลอดเลือด แล้วส่งผลให้เกิดโรคต่าง ๆ ซึ่งบางโรคก็ทำให้เสียชีวิตได้ในอนาคต ไขมันดีและไขมันเลว เกิดจากอะไร อาหารชนิดไหนควรกินชนิดไหนควรเลี่ยง ผู้เชี่ยวชาญเล่าให้ฟังในรายการ โรงหมอ ค่ะ

70
0
11 ก.พ. 66

คุณคิดว่านางเงือกมีจริงไหม ?

หลายคนคงรู้จักและเคยเห็นผ่านนิทานหรือการ์ตูนเรื่องต่าง ๆ ที่นางเงือก มีลักษณะครึ่งคนครึ่งปลา เป็นสาวสวยน่ารัก แล้วบนโลกของเรานั้น มีนางเงือกจริงหรือไม่? มีบันทึกของนักเดินเรือที่บอกว่าพบนางเงือกจริง ๆ แต่ที่เขาพบนั้นมันไม่ได้สวยงามเหมือนภาพวาดหรือที่จินตนาการไว้ มันมีหนวดแข็ง ๆ ตัวอ้วนกลม ปากใหญ่ และไม่มีผม การพบนางเงือกนำไปสู่การค้นหาสัตว์ในจินตนาการที่ถูกบันทึกไว้ และพบว่ามันมีตัวตนอยู่จริง แต่แท้จริงแล้วสิ่งที่นักเดินเรือเห็นนั้นคือ "พะยูน" นั้นเอง เรื่องราวจะเป็นอย่างไรลองไปฟังกับพี่แวนด้ากัน

82
1
06 ม.ค. 66

คนที่กินอะไรนิด ๆ หน่อย ๆ ก็อ้วน หรือออกกำลังกายอย่างหนักก็ยังอ้วนอยู่ ลองสำรวจตัวเองกันหน่อยว่ามีปัญหาการพอกพูนและการสะสมของไขมันที่อยู่รอบเอวหรือที่พุง (หน้าท้อง) หรือเปล่าเพราะนี่อาจเป็นสัญญาบอกว่าคุณเป็นโรคเมตะบอลิค

โรคเมตะบอลิค [Metabolic syndrome] เป็นโรคที่เกิดจากระบบการเผาผลาญที่ผิดปกติของร่างกาย ส่งผลให้เกิดปัญหาต่าง ๆ ตามมาได้เช่น ไขมันพอกตับ โรคเบาหวาน โรคไต โรคหัวใจ รวมถึงความผิดปกติต่อระบบอื่น ๆ ของร่างกายมนุษย์ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในกลุ่มที่ใช้ชีวิตอยู่กับการกิน กินอาหารที่มีพลังงานสูง ใช้ชีวิตแบบนั่ง ๆ นอน ๆ ตื่นก็กิน กินเสร็จแล้วนอน ไม่ออกกำลังกาย ไปทำความรู้จักโรคเมตะบอลิคให้มากขึ้น พร้อมกับคำแนะนำและงานวิจัยทางการแพทย์เกี่ยวกับโรคนี้

32
1
24 เม.ย. 67

ปัจจุบันสิ่งที่น่าตกใจจากการบริโภครสเค็มมากเกินไปของคนไทย คือ จากการสำรวจและเก็บสถิติทางการแพทย์พบว่า โรคต่าง ๆ ที่เกิดจาการกินเค็ม เช่น โรคความดันโลหิตสูง พบในคนที่มีอายุน้อยลง โดยเฉพาะกลุ่มวัยรุ่นที่กินเค็มสะสมมาตั้งแต่ตอนเด็ก ๆ และยังพบอีกว่า สาเหตุหนึ่งที่ทำให้เด็กติดเค็ม เกิดจากพ่อแม่ เพราะพ่อแม่มักเอารสชาติอร่อยของตัวเองเป็นที่ตั้งนั่นก็คือ เค็ม ไปใส่ในอาหารเด็ก ซึ่งมักมาจากผลิตภัณฑ์แปรรูปความเค็ม เช่น ซุปก้อน หรือผงชูรส

จะทำอย่างไรให้ร่างกายสามารถปรับตัวเองไม่ให้กินเค็มจนส่งผลเสียต่อร่างกาย และมีคำแนะนำเกี่ยวกับอาหารสำหรับเด็กอย่างไรให้หลีกเลี่ยงจากความเค็มมากที่สุด รายการ โรงหมอ เล่าให้ฟังค่ะ

50
1
11 มี.ค. 67

คนที่มีรูปร่าง ผอมแต่มีพุง (Skinny fat หรือ Normal Weight Obesity) จะมีน้ำหนักตัวและค่าดัชนีมวลกาย (บีเอ็มไอ: BMI) อยู่ในเกณฑ์ปกติมาตรฐาน แต่กลับพบค่าของไขมันที่อยู่บริเวณหน้าท้องสูง มีมวลกล้ามเนื้อน้อยหรือแทบไม่เห็นมัดกล้ามเนื้อ เมื่อมองจากภายนอกจะมีรูปร่างผอมเพรียวบางสมส่วน แต่พุงกลับป่องยื่นออกมาไม่เรียบแบน โดยหากนำสายวัดมาวัดรอบเอว ผู้หญิงต้องไม่เกิน 80 เซนติเมตร หรือ 32 นิ้ว ส่วนผู้ชายต้องไม่เกิน 90 เซนติเมตร หรือ 36 นิ้ว ที่สำคัญรูปร่างแบบนี้ไม่ถึอว่าเป็นโรค แต่ก็เป็นหนึ่งในความเสี่ยงทำให้เกิดโรคอื่น ๆ ตามมา มีปัจจัยอะไรบ้างที่ทำให้มีพุงยื่นนคนรูปร่างผอม ค่าหรือดัชนีต่าง ๆ ทั้งผู้ชายและผู้หญิงควรอยู่ในระดับที่เท่าไหร่ ทำอย่างไรไม่ให้มีพุง รายการ โรงหมอ เล่าให้ฟังค่ะ

33
1
08 มี.ค. 67

สำหรับคนที่มีรูปร่างอวบอ้วน สิ่งที่มักเกิดขึ้นภายในใจนั่นคือ ความไม่มั่นใจ ซึ่งส่งผลกระทบต่อการใช้ชีวิต การพบปะสังสรรค์ หรือการสร้างความสัมพันธ์กับผู้คนภายนอก จึงมักมีปัญหาในเรื่องความรัก ความสัมพันธ์ หรือแม้แต่เรื่องบนเตียง

โดยทั่วไปแล้ว คนอ้วนมักมีบุคลิกที่น่ารัก อบอุ่น น่ากอด เป็นหมอนข้าง พุงนุ่ม ๆ หนุนหัวได้ มักเป็นคนอารมณ์ดี แต่กลับมีความประหม่าในเรื่องรูปร่างของตัวเอง แม้มีความกลัวเหล่านี้อยู่ในใจ แต่ทำอย่างไรให้มีความมั่นใจในความสัมพันธ์มากขึ้น รวมถึงเรื่องบนเตียง ท่าไหนเหมาะเติมไฟให้ความรักของคนรูปร่างอวบอ้วนมากที่สุด รายการโรงหมอ เล่าให้ฟังค่ะ

24
1
11 ก.ย. 66

ความเครียดอาจทำให้บางคนไม่อยากกินอะไร แต่บางคนยิ่งเครียดกลับยิ่งกิน กินจน Over eating คือ หิวเก่ง กินเก่ง ซึ่งสัมพันธ์กับฮอร์โมน 3 ชนิดที่ทำให้เกิดความเครียดกับการกิน นั่นคือ 1. ฮอร์โมนคอร์ติซอล (Cortisol) ฮอร์โมนชนิดนี้ทำให้ร่างกายอยากกินอาหารเพิ่มขึ้น ทำให้เกิดการเพิ่มปริมาณของไขมันในช่องท้อง เป็นที่มาของความอ้วน 2. ฮอร์โมนเกรลิน (Ghrelin) เป็นฮอร์โมนที่ทำให้รู้สึกหิว 3. ฮอร์โมนเซโรโทนิน (Serotonin) เป็นฮอร์โมนแห่งความสุข คนที่ขาดฮอร์โมนชนิดจะทำให้เกิดความเครียดได้ง่ายและนอนไม่หลับ ฮอร์โมนทั้ง 3 ชนิดนี้เกี่ยวพันกับความเครียดอย่างไร เครียดแล้วทำไมต้องกิน เครียดแล้วกินส่งผลเสียอะไรกับร่างกายบ้าง ผู้เชี่ยวชาญด้านโภชนาการ เล่าให้ฟังในรายการ โรงหมอ ค่ะ

49
1
31 ก.ค. 66

พุง เกิดจากภาวะที่มีไขมันสะสมในช่องท้องที่มีปริมาณมากเกินไป บางคนแม้น้ำหนักจะอยู่ในเกณฑ์ปกติหรือมีรูปร่างสูง ก็ไม่ได้หมายความว่าจะไม่มีพุง ซึ่งพุงของแต่ละคนมีลักษณะรูปร่างแตกต่างกัน ขึ้นอยู่กับสาเหตุหรือปัจจัยอะไรที่ทำให้เกิด แต่แน่นอนว่า พุงแต่ละชนิด สามารถบอกได้ว่าอนาคตหากไม่ลดมีโอกาสเกิดโรคอะไรได้บ้าง รายการ โรงหมอ มีลักษณะของพุงแต่ละชนิดมาเล่าให้ฟังทั้งสาเหตุที่ทำให้เกิด โรคที่อาจเป็น และวิธีการลดหรือป้องกัน มาเล่าให้ฟังค่ะ

50
1
26 ก.ค. 66

รู้หรือไม่ว่าคนไทยบริโภคน้ำตาลที่ถูกแปรรูปไปเป็นผลิตภัณฑ์หรือเครื่อดื่มเฉลี่ย 25 ช้อนชาต่อวัน ในขณะที่กรมอนามัยแนะนำให้บริโภคไม่เกิน 6 ช้อนชาต่อวัน นั่นหมายความว่าตอนนี้คนไทยบริโภคเกินไปถึง 4 เท่า ซึ่งส่งผลเสียต่อสุขภาพตั้งแต่หัวจรดปลายเท้า รวมทั้งยังเสี่ยงต่อการเป็นโรคในกลุ่มโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง หรือ NCDs ซึ่งเป็นโรคที่สร้างด้วยตัวของคุณเอง เช่น โรคหัวใจและหลอดเลือด, โรคความดันโลหิตสูง, โรคไขมันในเลือดสูง, โรคอ้วนลงพุง, โรคเบาหวาน หรือโรคมะเร็งหลากหลายชนิด ผลกระทบทางร่างกายตั้งแต่หัวจรดปลายเท้าจากการกินหวานเกิดอะไรขึ้นบ้าง และหากต้องการลดความหวานให้กับร่างกายทำได้ด้วยวิธีใดบ้าง ผู้เชี่ยวชาญด้านโภชนาการเล่าให้ฟังในรายการ โรงหมอ ค่ะ

34
1
02 มิ.ย. 66

ปัจจุบันความอ้วนไม่ใช่เรื่องที่ดีสำหรับร่างกายเลย (ไม่ว่าวัยไหนก็ตาม) หากมีการวัดค่าดัชนีมวลกาย หรือ บีเอ็มไอ (Body Mass Index : BMI) สูงเกินกว่าดัชนี 25 ขึ้นไป ถือว่าเป็นโรคอ้วน ซึ่งอยู่ในภาวะเสี่ยงต่อการเกิดโรคเบาหวาน, โรคความดันโลหิตสูง, โรคไขมันพอกตับ, โรคหยุดหายใจขณะนอนหลับ รวมถึงเพิ่มโอกาสเสี่ยงเป็นมะเร็ง เช่น มะเร็งเต้านม และมะเร็งลำไส้ใหญ่

สำหรับใครที่คำนวนดัชนีมวลกายออกมาแล้วได้ดัชนี 30 ขึ้นไป นี่คือกลุ่มเสี่ยงและอันตรายที่สุดเพราะอยู่ในขั้นของ โรคอ้วนอันตราย หรือ โรคอ้วนทุพพลภาพ (Robotic-assisted bariatric surgery) ซึ่งมีผลต่อคุณภาพชีวิตอย่างมาก เสี่ยงเป็นโรคต่าง ๆ มากกว่าคนปกติ ที่สำคัญอายุสั้นกว่าคนปกติ หากคิดง่าย ๆ ส่วนมากแล้วคนที่มีน้ำหนักมากกว่า 100 กิโลกรัมขึ้นไป มักเป็นโรคนี้ ปัจจัยที่ทำให้เกิดโรคที่ควบคุมได้และไม่ได้มีอะไรบ้าง อาการแบบไหนต้องพิจารณาผ่าตัดกระเพาะอาหาร รายการ โรงหมอ เล่าให้ฟังค่ะ

45
1
12 เม.ย. 66

จริง ๆ แล้วร่างกายของเราขาดไขมันไม่ได้ ซึ่งไขมันก็เป็นหนึ่งในสารอาหารจำเป็น แต่สารอาหารชนิดนี้หากบริโภคแต่พอดีก็จะมีประโยชน์ แต่หากบริโภคไม่เลือกหรือมากเกินไปก็จะส่งผลร้ายต่อร่างกายได้ ส่วนใหญ่เราจะรู้จักกันใน 2 ชื่อคือ ไขมันดี (HDL) และ ไขมันเลว (LDL)

ไขมันดี (High density lipoprotein (HDL)) ทำหน้าที่ลำเลียงคอลเลสเตอรอลและกรดไขมันไปที่ตับเพื่อทำลาย แล้วขับออกมาทางน้ำดี ช่วยป้องกันไม่ให้ไขมันเลวไปสะสมในหลอดเลือดแดง ส่วน ไขมันเลว (Low density lipoprotein (LDL)) เป็นตัวที่นำคอลเลสเตอรอลไปให้ร่างกายได้ใช้ แต่หากบริโภคมากเกินไปจะไปสะสมที่ผนังหลอดเลือด แล้วส่งผลให้เกิดโรคต่าง ๆ ซึ่งบางโรคก็ทำให้เสียชีวิตได้ในอนาคต ไขมันดีและไขมันเลว เกิดจากอะไร อาหารชนิดไหนควรกินชนิดไหนควรเลี่ยง ผู้เชี่ยวชาญเล่าให้ฟังในรายการ โรงหมอ ค่ะ

70
0
11 ก.พ. 66

คุณคิดว่านางเงือกมีจริงไหม ?

หลายคนคงรู้จักและเคยเห็นผ่านนิทานหรือการ์ตูนเรื่องต่าง ๆ ที่นางเงือก มีลักษณะครึ่งคนครึ่งปลา เป็นสาวสวยน่ารัก แล้วบนโลกของเรานั้น มีนางเงือกจริงหรือไม่? มีบันทึกของนักเดินเรือที่บอกว่าพบนางเงือกจริง ๆ แต่ที่เขาพบนั้นมันไม่ได้สวยงามเหมือนภาพวาดหรือที่จินตนาการไว้ มันมีหนวดแข็ง ๆ ตัวอ้วนกลม ปากใหญ่ และไม่มีผม การพบนางเงือกนำไปสู่การค้นหาสัตว์ในจินตนาการที่ถูกบันทึกไว้ และพบว่ามันมีตัวตนอยู่จริง แต่แท้จริงแล้วสิ่งที่นักเดินเรือเห็นนั้นคือ "พะยูน" นั้นเอง เรื่องราวจะเป็นอย่างไรลองไปฟังกับพี่แวนด้ากัน

82
1
06 ม.ค. 66

คนที่กินอะไรนิด ๆ หน่อย ๆ ก็อ้วน หรือออกกำลังกายอย่างหนักก็ยังอ้วนอยู่ ลองสำรวจตัวเองกันหน่อยว่ามีปัญหาการพอกพูนและการสะสมของไขมันที่อยู่รอบเอวหรือที่พุง (หน้าท้อง) หรือเปล่าเพราะนี่อาจเป็นสัญญาบอกว่าคุณเป็นโรคเมตะบอลิค

โรคเมตะบอลิค [Metabolic syndrome] เป็นโรคที่เกิดจากระบบการเผาผลาญที่ผิดปกติของร่างกาย ส่งผลให้เกิดปัญหาต่าง ๆ ตามมาได้เช่น ไขมันพอกตับ โรคเบาหวาน โรคไต โรคหัวใจ รวมถึงความผิดปกติต่อระบบอื่น ๆ ของร่างกายมนุษย์ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในกลุ่มที่ใช้ชีวิตอยู่กับการกิน กินอาหารที่มีพลังงานสูง ใช้ชีวิตแบบนั่ง ๆ นอน ๆ ตื่นก็กิน กินเสร็จแล้วนอน ไม่ออกกำลังกาย ไปทำความรู้จักโรคเมตะบอลิคให้มากขึ้น พร้อมกับคำแนะนำและงานวิจัยทางการแพทย์เกี่ยวกับโรคนี้

32
1
24 เม.ย. 67

ปัจจุบันสิ่งที่น่าตกใจจากการบริโภครสเค็มมากเกินไปของคนไทย คือ จากการสำรวจและเก็บสถิติทางการแพทย์พบว่า โรคต่าง ๆ ที่เกิดจาการกินเค็ม เช่น โรคความดันโลหิตสูง พบในคนที่มีอายุน้อยลง โดยเฉพาะกลุ่มวัยรุ่นที่กินเค็มสะสมมาตั้งแต่ตอนเด็ก ๆ และยังพบอีกว่า สาเหตุหนึ่งที่ทำให้เด็กติดเค็ม เกิดจากพ่อแม่ เพราะพ่อแม่มักเอารสชาติอร่อยของตัวเองเป็นที่ตั้งนั่นก็คือ เค็ม ไปใส่ในอาหารเด็ก ซึ่งมักมาจากผลิตภัณฑ์แปรรูปความเค็ม เช่น ซุปก้อน หรือผงชูรส

จะทำอย่างไรให้ร่างกายสามารถปรับตัวเองไม่ให้กินเค็มจนส่งผลเสียต่อร่างกาย และมีคำแนะนำเกี่ยวกับอาหารสำหรับเด็กอย่างไรให้หลีกเลี่ยงจากความเค็มมากที่สุด รายการ โรงหมอ เล่าให้ฟังค่ะ

50
1
11 มี.ค. 67

คนที่มีรูปร่าง ผอมแต่มีพุง (Skinny fat หรือ Normal Weight Obesity) จะมีน้ำหนักตัวและค่าดัชนีมวลกาย (บีเอ็มไอ: BMI) อยู่ในเกณฑ์ปกติมาตรฐาน แต่กลับพบค่าของไขมันที่อยู่บริเวณหน้าท้องสูง มีมวลกล้ามเนื้อน้อยหรือแทบไม่เห็นมัดกล้ามเนื้อ เมื่อมองจากภายนอกจะมีรูปร่างผอมเพรียวบางสมส่วน แต่พุงกลับป่องยื่นออกมาไม่เรียบแบน โดยหากนำสายวัดมาวัดรอบเอว ผู้หญิงต้องไม่เกิน 80 เซนติเมตร หรือ 32 นิ้ว ส่วนผู้ชายต้องไม่เกิน 90 เซนติเมตร หรือ 36 นิ้ว ที่สำคัญรูปร่างแบบนี้ไม่ถึอว่าเป็นโรค แต่ก็เป็นหนึ่งในความเสี่ยงทำให้เกิดโรคอื่น ๆ ตามมา มีปัจจัยอะไรบ้างที่ทำให้มีพุงยื่นนคนรูปร่างผอม ค่าหรือดัชนีต่าง ๆ ทั้งผู้ชายและผู้หญิงควรอยู่ในระดับที่เท่าไหร่ ทำอย่างไรไม่ให้มีพุง รายการ โรงหมอ เล่าให้ฟังค่ะ

33
1
08 มี.ค. 67

สำหรับคนที่มีรูปร่างอวบอ้วน สิ่งที่มักเกิดขึ้นภายในใจนั่นคือ ความไม่มั่นใจ ซึ่งส่งผลกระทบต่อการใช้ชีวิต การพบปะสังสรรค์ หรือการสร้างความสัมพันธ์กับผู้คนภายนอก จึงมักมีปัญหาในเรื่องความรัก ความสัมพันธ์ หรือแม้แต่เรื่องบนเตียง

โดยทั่วไปแล้ว คนอ้วนมักมีบุคลิกที่น่ารัก อบอุ่น น่ากอด เป็นหมอนข้าง พุงนุ่ม ๆ หนุนหัวได้ มักเป็นคนอารมณ์ดี แต่กลับมีความประหม่าในเรื่องรูปร่างของตัวเอง แม้มีความกลัวเหล่านี้อยู่ในใจ แต่ทำอย่างไรให้มีความมั่นใจในความสัมพันธ์มากขึ้น รวมถึงเรื่องบนเตียง ท่าไหนเหมาะเติมไฟให้ความรักของคนรูปร่างอวบอ้วนมากที่สุด รายการโรงหมอ เล่าให้ฟังค่ะ

24
1
11 ก.ย. 66

ความเครียดอาจทำให้บางคนไม่อยากกินอะไร แต่บางคนยิ่งเครียดกลับยิ่งกิน กินจน Over eating คือ หิวเก่ง กินเก่ง ซึ่งสัมพันธ์กับฮอร์โมน 3 ชนิดที่ทำให้เกิดความเครียดกับการกิน นั่นคือ 1. ฮอร์โมนคอร์ติซอล (Cortisol) ฮอร์โมนชนิดนี้ทำให้ร่างกายอยากกินอาหารเพิ่มขึ้น ทำให้เกิดการเพิ่มปริมาณของไขมันในช่องท้อง เป็นที่มาของความอ้วน 2. ฮอร์โมนเกรลิน (Ghrelin) เป็นฮอร์โมนที่ทำให้รู้สึกหิว 3. ฮอร์โมนเซโรโทนิน (Serotonin) เป็นฮอร์โมนแห่งความสุข คนที่ขาดฮอร์โมนชนิดจะทำให้เกิดความเครียดได้ง่ายและนอนไม่หลับ ฮอร์โมนทั้ง 3 ชนิดนี้เกี่ยวพันกับความเครียดอย่างไร เครียดแล้วทำไมต้องกิน เครียดแล้วกินส่งผลเสียอะไรกับร่างกายบ้าง ผู้เชี่ยวชาญด้านโภชนาการ เล่าให้ฟังในรายการ โรงหมอ ค่ะ

49
1
31 ก.ค. 66

พุง เกิดจากภาวะที่มีไขมันสะสมในช่องท้องที่มีปริมาณมากเกินไป บางคนแม้น้ำหนักจะอยู่ในเกณฑ์ปกติหรือมีรูปร่างสูง ก็ไม่ได้หมายความว่าจะไม่มีพุง ซึ่งพุงของแต่ละคนมีลักษณะรูปร่างแตกต่างกัน ขึ้นอยู่กับสาเหตุหรือปัจจัยอะไรที่ทำให้เกิด แต่แน่นอนว่า พุงแต่ละชนิด สามารถบอกได้ว่าอนาคตหากไม่ลดมีโอกาสเกิดโรคอะไรได้บ้าง รายการ โรงหมอ มีลักษณะของพุงแต่ละชนิดมาเล่าให้ฟังทั้งสาเหตุที่ทำให้เกิด โรคที่อาจเป็น และวิธีการลดหรือป้องกัน มาเล่าให้ฟังค่ะ

50
1
26 ก.ค. 66

รู้หรือไม่ว่าคนไทยบริโภคน้ำตาลที่ถูกแปรรูปไปเป็นผลิตภัณฑ์หรือเครื่อดื่มเฉลี่ย 25 ช้อนชาต่อวัน ในขณะที่กรมอนามัยแนะนำให้บริโภคไม่เกิน 6 ช้อนชาต่อวัน นั่นหมายความว่าตอนนี้คนไทยบริโภคเกินไปถึง 4 เท่า ซึ่งส่งผลเสียต่อสุขภาพตั้งแต่หัวจรดปลายเท้า รวมทั้งยังเสี่ยงต่อการเป็นโรคในกลุ่มโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง หรือ NCDs ซึ่งเป็นโรคที่สร้างด้วยตัวของคุณเอง เช่น โรคหัวใจและหลอดเลือด, โรคความดันโลหิตสูง, โรคไขมันในเลือดสูง, โรคอ้วนลงพุง, โรคเบาหวาน หรือโรคมะเร็งหลากหลายชนิด ผลกระทบทางร่างกายตั้งแต่หัวจรดปลายเท้าจากการกินหวานเกิดอะไรขึ้นบ้าง และหากต้องการลดความหวานให้กับร่างกายทำได้ด้วยวิธีใดบ้าง ผู้เชี่ยวชาญด้านโภชนาการเล่าให้ฟังในรายการ โรงหมอ ค่ะ

34
1
02 มิ.ย. 66

ปัจจุบันความอ้วนไม่ใช่เรื่องที่ดีสำหรับร่างกายเลย (ไม่ว่าวัยไหนก็ตาม) หากมีการวัดค่าดัชนีมวลกาย หรือ บีเอ็มไอ (Body Mass Index : BMI) สูงเกินกว่าดัชนี 25 ขึ้นไป ถือว่าเป็นโรคอ้วน ซึ่งอยู่ในภาวะเสี่ยงต่อการเกิดโรคเบาหวาน, โรคความดันโลหิตสูง, โรคไขมันพอกตับ, โรคหยุดหายใจขณะนอนหลับ รวมถึงเพิ่มโอกาสเสี่ยงเป็นมะเร็ง เช่น มะเร็งเต้านม และมะเร็งลำไส้ใหญ่

สำหรับใครที่คำนวนดัชนีมวลกายออกมาแล้วได้ดัชนี 30 ขึ้นไป นี่คือกลุ่มเสี่ยงและอันตรายที่สุดเพราะอยู่ในขั้นของ โรคอ้วนอันตราย หรือ โรคอ้วนทุพพลภาพ (Robotic-assisted bariatric surgery) ซึ่งมีผลต่อคุณภาพชีวิตอย่างมาก เสี่ยงเป็นโรคต่าง ๆ มากกว่าคนปกติ ที่สำคัญอายุสั้นกว่าคนปกติ หากคิดง่าย ๆ ส่วนมากแล้วคนที่มีน้ำหนักมากกว่า 100 กิโลกรัมขึ้นไป มักเป็นโรคนี้ ปัจจัยที่ทำให้เกิดโรคที่ควบคุมได้และไม่ได้มีอะไรบ้าง อาการแบบไหนต้องพิจารณาผ่าตัดกระเพาะอาหาร รายการ โรงหมอ เล่าให้ฟังค่ะ

45
1
12 เม.ย. 66

จริง ๆ แล้วร่างกายของเราขาดไขมันไม่ได้ ซึ่งไขมันก็เป็นหนึ่งในสารอาหารจำเป็น แต่สารอาหารชนิดนี้หากบริโภคแต่พอดีก็จะมีประโยชน์ แต่หากบริโภคไม่เลือกหรือมากเกินไปก็จะส่งผลร้ายต่อร่างกายได้ ส่วนใหญ่เราจะรู้จักกันใน 2 ชื่อคือ ไขมันดี (HDL) และ ไขมันเลว (LDL)

ไขมันดี (High density lipoprotein (HDL)) ทำหน้าที่ลำเลียงคอลเลสเตอรอลและกรดไขมันไปที่ตับเพื่อทำลาย แล้วขับออกมาทางน้ำดี ช่วยป้องกันไม่ให้ไขมันเลวไปสะสมในหลอดเลือดแดง ส่วน ไขมันเลว (Low density lipoprotein (LDL)) เป็นตัวที่นำคอลเลสเตอรอลไปให้ร่างกายได้ใช้ แต่หากบริโภคมากเกินไปจะไปสะสมที่ผนังหลอดเลือด แล้วส่งผลให้เกิดโรคต่าง ๆ ซึ่งบางโรคก็ทำให้เสียชีวิตได้ในอนาคต ไขมันดีและไขมันเลว เกิดจากอะไร อาหารชนิดไหนควรกินชนิดไหนควรเลี่ยง ผู้เชี่ยวชาญเล่าให้ฟังในรายการ โรงหมอ ค่ะ

70
0
11 ก.พ. 66

คุณคิดว่านางเงือกมีจริงไหม ?

หลายคนคงรู้จักและเคยเห็นผ่านนิทานหรือการ์ตูนเรื่องต่าง ๆ ที่นางเงือก มีลักษณะครึ่งคนครึ่งปลา เป็นสาวสวยน่ารัก แล้วบนโลกของเรานั้น มีนางเงือกจริงหรือไม่? มีบันทึกของนักเดินเรือที่บอกว่าพบนางเงือกจริง ๆ แต่ที่เขาพบนั้นมันไม่ได้สวยงามเหมือนภาพวาดหรือที่จินตนาการไว้ มันมีหนวดแข็ง ๆ ตัวอ้วนกลม ปากใหญ่ และไม่มีผม การพบนางเงือกนำไปสู่การค้นหาสัตว์ในจินตนาการที่ถูกบันทึกไว้ และพบว่ามันมีตัวตนอยู่จริง แต่แท้จริงแล้วสิ่งที่นักเดินเรือเห็นนั้นคือ "พะยูน" นั้นเอง เรื่องราวจะเป็นอย่างไรลองไปฟังกับพี่แวนด้ากัน

82
1
06 ม.ค. 66

คนที่กินอะไรนิด ๆ หน่อย ๆ ก็อ้วน หรือออกกำลังกายอย่างหนักก็ยังอ้วนอยู่ ลองสำรวจตัวเองกันหน่อยว่ามีปัญหาการพอกพูนและการสะสมของไขมันที่อยู่รอบเอวหรือที่พุง (หน้าท้อง) หรือเปล่าเพราะนี่อาจเป็นสัญญาบอกว่าคุณเป็นโรคเมตะบอลิค

โรคเมตะบอลิค [Metabolic syndrome] เป็นโรคที่เกิดจากระบบการเผาผลาญที่ผิดปกติของร่างกาย ส่งผลให้เกิดปัญหาต่าง ๆ ตามมาได้เช่น ไขมันพอกตับ โรคเบาหวาน โรคไต โรคหัวใจ รวมถึงความผิดปกติต่อระบบอื่น ๆ ของร่างกายมนุษย์ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในกลุ่มที่ใช้ชีวิตอยู่กับการกิน กินอาหารที่มีพลังงานสูง ใช้ชีวิตแบบนั่ง ๆ นอน ๆ ตื่นก็กิน กินเสร็จแล้วนอน ไม่ออกกำลังกาย ไปทำความรู้จักโรคเมตะบอลิคให้มากขึ้น พร้อมกับคำแนะนำและงานวิจัยทางการแพทย์เกี่ยวกับโรคนี้

ผลการค้นหา 0 รายการ
เรียงจาก

ไม่พบข้อมูล
ผลการค้นหา 1 รายการ
เรียงจาก

ผลการค้นหา 0 รายการ
เรียงจาก

ไม่พบข้อมูล
ผลการค้นหา 0 รายการ
เรียงจาก

ไม่พบข้อมูล
แผ่นเสียง แผ่นเสียง
กำลังออกอากาศ ไม่มีการออกอากาศ แผ่นเสียง Radio แผ่นเสียง Podcast เล่นแผ่นเสียง พักแผ่นเสียง
คลิปเสียงถัดไป